คู่มือการใช้งาน KC Moodle & Exam Moodle
  • คำถามที่พบบ่อย
  • ทำความรู้จักระบบ Moodle
  • กลับไปหน้าสารบัญคู่มือ
  • การเข้าใช้งานระบบ
    • การแก้ไขโปรไฟล์ส่วนตัว
    • การลงทะเบียนเพื่อใช้งานร่วมกับ CMU Office365
  • ดูคอร์สทั้งหมดของท่าน (Course Overview)
  • การตั้งค่ากระบวนวิชา
    • การเลือก Template Course(เฉพาะExam Moodle)
    • การตั้งค่ากระบวนวิชา (Edit course settings)
    • การปรับแต่งหน้าคอร์ส(Customized course page)
  • การใช้งานคอร์สเดิม
    • การ Back up ข้อมูล
    • การนำเข้าข้อมูลจากคอร์สเดิม (Import)
    • การ Duplicate หรือ Copy Course (เฉพาะ Exam Moodle)
  • แบบทดสอบ (Quiz)
    • แบบทดสอบ (Quiz) คืออะไร?
      • Quiz structure analysis
    • การสร้างแบบทดสอบ (Creating Quiz)
      • การสร้าง คำถามใหม่ 32 รูปแบบ (Question type)
        • Multiple Choice (ตัวเลือกตอบหลายตัวเลือก)
        • True/False (ตัวเลือกตอบถูก/ผิด)
        • Matching (ตัวเลือกจับคู่)
        • Short Answer (เติมคำตอบสั้นๆ)
        • Essay (พิมพ์คำตอบที่มีความยาว หรือ ตอบแบบเรียงความ)
        • Gapfill
        • Numerical
        • All-or-Nothing Multiple Choice
        • Calculated
        • Calculated multichoice
        • Calculated simple
        • CodeRunner
        • Concordance of judgment
        • Concordance of reasoning
        • Drag and drop into text
        • Drag and drop markers
        • Drag and drop onto image
        • Embedded Answers (Cloze)
        • Essay (auto-grade)
        • Freehand drawing (ETH)
        • GeoGebra
        • Matrix/Kprime
        • Music Theory
        • Ordering
        • OU multiple response
        • Pattern match
        • Random short-answer matching
        • Record audio/video
        • Select missing words
        • ShortMath
        • Variable numeric
        • Variable numeric set
      • การจัดหน้าข้อสอบ (Page Arrangement)
      • การจัดการลำดับคำถาม (Shuffle/Sequence)
    • การนำเข้าคำถาม Multiple Choice ด้วย Aiken format
    • คลังคำถาม (Question Bank)
      • วิธีสร้างและจัดการหมวดหมู่ของคำถาม (Question categories)
      • การสุ่มเลือกคำถามจากคลังคำถาม(Random Question from Question Bank)
      • การนำออกไฟล์ข้อคำถาม (Export question to file)
    • การตั้งค่าแบบทดสอบ (Quiz Settings)
      • การตั้งค่าในกรณีเกิดเหตุขัดข้องต่างๆ
      • User Overrides
      • Group Overrides
    • การซ่อนและการแสดงผลแบบทดสอบ (Hide/Unhide Quiz)
    • การลบแบบทดสอบ (Deleting Quiz)
    • การดูตัวอย่างก่อนเปิดใช้งานจริง (Preview Quiz)
    • การดูตัวอย่างในมุมมองนักศึกษา (Switch Role to student)
    • การ Proctoring สำหรับการสอบ
      • การตั้งค่า Webcam identity validation
  • การจัดการคะแนน
    • การแสดงผลเกรด (Grades)
    • การดูผลคะแนนแบบทดสอบ (Quiz Result)
      • การดูผลคะแนน Quiz และ Grade แบบแบ่ง Sections
    • การดูและดาวน์โหลดคำตอบของนักศึกษา (Responses)
    • การนำเข้าคะแนน (Grade Import)
    • การแก้ไขคะแนน (Regrade all)
    • การแสดงผลเกรดแบบ Letter
    • การดูประวัติการแก้ไขคะแนน (Grade History)
    • การลบข้อมูลคะแนนเก่า
  • การจัดการผู้เข้าร่วมวิชา
    • การเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชา
    • การกำหนดบทบาทของผู้เข้าร่วมวิชา (Roles)
    • การลบผู้เข้าร่วมวิชา
    • การแบ่งกลุ่มนักศึกษา
  • Activities
    • การ Copy Activity จากคอร์สเก่าใส่คอร์สใหม่
    • Questionnaire
      • Check Boxes
      • Date
      • Dropdown Box
      • Essay Box
      • Label
      • Numeric
      • Radio Buttons
      • Text Box
      • Yes/No
  • ช่องทางการติดต่อทีมงาน
Powered by GitBook
On this page
  • วิธีการเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชามีอยู่ 4 วิธีหลักได้แก่
  • 1.อาจารย์เพิ่มด้วยตนเอง
  • การเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชาด้วยเมนู Enroll users
  • เพิ่มผู้เข้าร่วมวิชาจำนวนมากด้วยการอัพโหลดไฟล์ (Bulk Enrolment)
  • 2.เข้าวิชาโดยใช้รหัสเข้าห้อง (Enrolment code)
  • 3.เปิดให้เข้า Course ด้วยตัวเอง (Self-enrollment)
  • 4.เปิดคอร์สผ่านระบบ Course Portal Management รอถึงรอบประมวลผล

Was this helpful?

  1. การจัดการผู้เข้าร่วมวิชา

การเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชา

Previousการลบข้อมูลคะแนนเก่าNextการกำหนดบทบาทของผู้เข้าร่วมวิชา (Roles)

Last updated 1 year ago

Was this helpful?

ผู้เข้าร่วมวิชา แบ่งเป็น ฝั่งผู้สอนได้แก่ อาจารย์ผู้ร่วมสอนท่านอื่นๆ หรือ ผู้ช่วยอาจารย์ และ ฝั่งผู้สอน ได้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือ นักศึกษา Lifelong Education

การเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชานั้นจะสามราถทำได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ที่ต้องการเพิ่มเข้าสู่ระบบอย่างน้อย 1 ครั้ง หากไม่เคยเข้าสู่ระบบเลย ระบบจะไม่พบข้อมูล ทำให้ทำการเพิ่มเข้าสู่กระบวนวิชาไม่ได้

วิธีการเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชามีอยู่ 4 วิธีหลักได้แก่

  1. อาจารย์เพิ่มด้วยตนเอง

    1. การเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชาด้วยเมนู Enroll users

    2. เพิ่มผู้เข้าร่วมวิชาจำนวนมากด้วยการอัพโหลดไฟล์ (ฺBulk Enrolment)

  2. เข้าวิชาโดยใช้รหัสเข้าห้อง (Enrolment code)

  3. เปิดให้เข้า Course ด้วยตัวเอง (Self-enrollment)

  4. เปิดคอร์สผ่านระบบ Course Portal Management รอถึงรอบประมวลผล

1.อาจารย์เพิ่มด้วยตนเอง

การเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชาด้วยเมนู Enroll users

ท่านสามารถเพิ่มผู้เข้าร่วมวิชา เช่น อาจารย์ผู้ร่วมสอนท่านอื่นๆ ผู้ช่วยอาจารย์ หรือ นักศึกษา ได้โดยไปยังเมนู Participant และกดปุ่ม Enroll Users

ท่านจะพบกับหน้าต่าง Enrolment Options ดังภาพประกอบด้านล่าง

มีรายละเอียดแต่ละส่วนดังนี้

1.1 Select User

ส่วนเลือกผู้ใช้งาน หรือ ผู้ที่ท่านต้องการเพิ่มเข้าสู่กระบวนวิชา ท่านสามารถเลือกได้หลายผู้ใช้งาน โดยการพิมพ์ Account ที่ 1 แล้วกดเลือก หลังจากนั้น พิมพ์ Account ที่ 2 และกดเลือก

1.2 Assign Role

การตั้งค่า Role หรือ บทบาทในกระบวนวิชา แบ่งเป็น

  1. Student : ผู้เรียน หรือ นักศึกษา จะไม่สามารถแก้ไขส่วนต่างๆในคอร์สได้ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่อาจารย์หรือผู้ออกแบบคอร์สออกแบบไว้

  2. Non-Editing Teacher : บทบาทอาจารย์ที่ไม่สามารถแก้ไขการใช้งานบางส่วนในกระบวนวิชา สามารถสอนและให้เกรดนักศึกษาได้ แต่จะไม่สามารถแก้ไข Activities ในคอร์สได้

  3. Teacher : อาจารย์ สามารถแก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลทุกส่วนภายในกระบวนวิชา แก้ไขเปลี่ยนแปลง Activities และ ให้คะแนนนักศึกษา

  4. Manager : ผู้ที่สามารถจัดการแก้ไขข้อมูล ภายในคอร์ส แม้ว่าจะไม่ได้มีส่วนร่วมในคอร์สก็ตาม

  5. Invited Student (Role ใหม่) : ผู้เรียนที่อาจารย์ทำการเพิ่มเข้ามาในกรณีพิเศษ นักศึกษาที่มีสถานะนี้จะไม่ถูกนำออกเมื่อมีการ Sync รายชื่อในระบบให้ตรงกับสำนักทะเบียน หากท่านต้องการเพิ่มนักศึกษาที่ไม่มีรายชื่อในสำนักทะเบียน สามารถเลือกสถานะนี้เพื่อป้องกันการถูกนำออกโดยระบบได้

1.3 Starting From

วันที่เริ่มให้เข้ากระบวนวิชาได้

1.4 Enrolment duration

ระยะเวลาที่สามารถเข้าสู่กระบวนวิชาได้ ส่วนนี้จะระบุระยะเวลาที่สามารถเข้าถึงกระบวนวิชา

1.5 Enrolment ends

ท่านสามารถเปิดการใช้งานส่วนนี้ได้ เพื่อจำกัดการเข้าใช้งานกระบวนวิชา เช่น ตั้งค่าส่วนนี้ถึงวันสุดท้ายของภาคเรียน ที่ 1 หลังจากภาคเรียนที่ 1 ผู้ใช้งานจะไม่สามารถเข้าสู่กระบวนวิชานี้ได้อีก

ให้ท่านกรอก CMU Account ของผู้ที่ท่านต้องการเพิ่ม และกดเลือก Account โดยเมื่อทำการเลือกแล้ว Account จะกลายเป็นสีเขียวดังภาพประกอบด้านล่างนี้

การค้นหา Account นั้น หากไม่พบ แสดงว่าผู้ที่ท่านต้องการเพิ่ม ยังไม่เคยเข้าสู่ระบบ KC Moodle หรือ CMU Exam มาก่อน ให้ท่านแจ้งท่านนั้นให้เข้าสู่ระบบอย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อที่ระบบจะได้ตรวจเจอ Account และสามารถเพิ่มสู่กระบวนวิชาได้

การค้นหาชื่อ สามารถทำได้โดยการกรอกชื่อ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ รหัสนักศึกษา และ CMU Account แต่ส่วนที่แนะนำคือใช้ CMU Account จะระบุ Account ได้เจาะจงที่สุด

เพิ่มผู้เข้าร่วมวิชาจำนวนมากด้วยการอัพโหลดไฟล์ (Bulk Enrolment)

แบ่งเป็นขั้นตอนหลัก ได้แก่การเตรียมไฟล์ข้อมูลของนักศึกษาและการอัพโหลดไฟล์ในระบบ

ท่านสามารถนำเข้าข้อมูลด้วย รหัสนักศึกษา หรือ Email Addres(cmu.ac.th.) ของนักศึกษาได้โดยจะต้องทำการเลือกรูปแบบข้อมูลที่จะนำเข้าในระบบให้ตรงกับ ไฟล์ข้อมูลที่ท่านนำเข้า เช่น ท่านมีไฟล์รหัสนักศึกษา ในตอนที่ท่านจะนำเข้าข้อมูลโดยการอัพโหลดไฟล์นี้ ท่านจะต้องเลือกรูปแบบข้อมูลที่จะนำเข้าเป็น Student ID หรือ รหัสนักศึกษาด้วยนั่นเอง

ขั้นตอนการเตรียมไฟล์

2.ทำการลบให้เหลือแต่คอลัมภ์รหัสนักศึกษาเพียงคอลัมภ์เดียว (เพิ่มเติม หากต้องการแบ่ง SECTION ให้เพิ่มคอลัมภ์ SEC ขึ้นมาด้านข้าง) ดังรูป

3.Save เป็นไฟล์ .CSV (Comma delimited)

ท่านสามารถใช้วิธีการเดียวกันนี้แต่เปลี่ยนเป็น E-mail cmu.ac.th ได้เช่นกัน

ขั้นตอนการอัพโหลด

1.เปิด course ของท่าน แล้วไปที่เมนู Participants

2.เข้าที่ปุ่ม ฟันเฟือง หรือ Setting บริเวณขวามือ แล้วไปที่เมนู "Bulk enrollments"

3.Upload ไฟล์ .CSV โดยการลากไฟล์มาวางในกล่องเส้นประสีเทา หรือกดปุ่ม Choose a file.. เพื่อเลือกไฟล์

โดยในขั้นตอนนี้จะเห็นว่าหัวข้อ First column contains แสดงผลเป็น id number ซึ่งเป็นการตั้งค่าเริ่มต้นของการนำเข้าข้อมูลแบบ Bulk Enrolment

หากท่านต้องการนำเข้าด้วย cmu.ac.th ให้ท่านเปลี่ยน่วนนี้เป็น Email แทน

4.จากนั้นตั้งค่าตามต้องการ และคลิ๊กที่ปุ่ม “Enroll them to my course”

5.ระบบจะทำการ Upload จากนั้นให้กดปุ่ม “Continue”

6.เมื่อกลับมาดูรายชื่อที่ “Participants” จะพบกับรายชื่อนักศึกษาที่ได้เพิ่มเข้าไป

2.เข้าวิชาโดยใช้รหัสเข้าห้อง (Enrolment code)

1.เข้าวิชาแล้วไปยังเครื่องหมายฟันเฟืองหรือ Setting จากนั้นเลือกเมนู “More…”

2.เลือก Tab “Users”

3.ไปยังหัวข้อ Enrolment Methods จากนั้นเลือกที่เมนู “Easy enrollments”

4.ดูรหัสเข้าของวิชา และนำไปให้กับผู้เรียนเพื่อเข้าเรียน

3.เปิดให้เข้า Course ด้วยตัวเอง (Self-enrollment)

  1. จากหน้าแรกของ Course เลือก Participants

  2. คลิ๊กปุ่ม Actions menu (ฟันเฟือง) แล้วเลือก “Enrollment methods”

  3. ในส่วนของ Self-enrollment ให้คลิ๊กปุ่ม enable (เปิดตา) เป็นอันเสร็จสิ้น

4.เปิดคอร์สผ่านระบบ Course Portal Management รอถึงรอบประมวลผล

คอร์สที่เปิดผ่านระบบ Course Portal Management เมื่อถึงรอบประมวลผล รายชื่อน.ศ.จากสำนักทะเบียนเข้าสู่คอร์สโดยอัตโนมัติ

1.ทำการ Download รายชื่อนักศึกษาจากหน้าสำนักทะเบียน ที่ ซึ่งจะได้ไฟล์ .CSV และนำไปเปิดในโปรแกรม MS Excel หรือ ทำการคัดลอกข้อมูลนักศึกษาแล้ววางใน MS Excel

http://www1.reg.cmu.ac.th/registrationoffice/searchcourse.php